HomeKnowledge

Knowledge

Rays in Southeast Asian Region

Aetobatus ocellatus (Kuhl, 1823) Hemitrygon akajei (Müller & Henle, 1841) Telatrygon zugei (Müller & Henle, 1841) Gymnura japonica (Temminck & Schlegel, 1850) Gymnura poecilura (Shaw, 1804) Maculabatis gerrardi (Gray, 1851) Brevitrygon imbricata (Bloch & Schneider, 1801) Pateobatis jenkinsii (Annandale, 1909) Himantura leoparda...

ลักษณะสภาพอากาศวิกฤติและการเดินเรือระหว่างสภาพอากาศวิกฤติ

แหล่งข้อมูลสภาพอากาศ ชาวเรือและชาวประมงเป็นอาชีพที่ต้องพึ่งพาทะเลเป็นแหล่งประกอบอาชีพ เพื่อความปลอดภัยทั้งชีวิตและทรัพยสินในการประกอบอาชีพ การรู้และทราบข้อมูลสภาพอากาศรายวัน รายสัปดาห์ เป็นสิ่งที่สำคัญและจำเป็นยิ่ง โดยสามารถหาข้อมูลสภาพอากาศได้จาก การรายงานสภาพอากาศโดยสื่อต่างๆ ทั้งวิทยุและโทรทัศน์ สื่อสมัยใหม่ โซเชียลมิเดีย การสอบถามไปยังสถานีตรวจอากาศและอุตุนิยมวิทยา ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค สอบถามและแลกเปลี่ยนข้อมูลสภาพอากาศระหว่างชาวเรือด้วยกันเอง ลักษณะสภาพอากาศในทะเลแบ่งเป็น สภาพอากาศที่เป็นอันตรายสำหรับเรือเล็ก มีความเร็วลม 20-33 นอต หรือ 36-60 กิโลเมตร ต่อ ชั่วโมง ทะเลมีคลื่นสูง 2-3 เมตร ซึ่งจะมีคำเตือนให้เรือขนาดเล็กควรงดออกจากฝั่ง ทะเลมีคลื่นจัด  มีความเร็วลม 34-47 นอต หรือ 61-84 กิโลเมตร ต่อ ชั่วโมง ทะเลมีคลื่นสูง 6-9 เมตร ทะเลมีพายุ ...

Establishment of Fisheries Refugia in the South China Sea and Gulf of Thailand

MAP OF 15 FISHERIES REFUGIA IN THE SOUTH CHINA SEA AND GULF OF THAILAND Total coverage area:  1,159,241 ha Cambodia: 4 sites Kep Province for blue swimming crab (11,307 ha) Kampot Province for the juvenile grouper (8008 ha); Preah...

ธนาคารไข่หมึก บ้านหาดทรายขาว จังหวัดระนอง

สำนักงานฝ่ายฝึกอบรม ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในความร่วมมมือกับกรมประมง นำแนวทางการจัดการทรัพยากรประมงเชิงระบบนิเวศ (EAFM) มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาแผนการจัดการประมง ในพื้นที่บ้านหาดทรายขาว อ.สุขสำราญ จ.ระนอง คนในชุมชนประกอบอาชีพประมงขนาดเล็ก ส่วนใหญ่ทำประมงลอบหมึก ชนิดหมึกที่ได้ คือ หมึกหอมและหมึกกระดอง ซึ่งปัจจุบันชาวประมงประสบปัญหาทรัพยากรหมึกลดลง จากการทำแผนการจัดการทรัยพากรร่วมกัน จังเห็นว่าควรมีการจัดตั้งธนาคารหมึก เพื่อช่วยฟื้นฟูทรัพยากร ธนาคารหมึกแห่งแรก ตั้งขึ้นที่บ้านทะเลงาม จ. ชุมพร สำนักงานฝ่ายฝึกอบรม ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้นำต้นแบบธนาคารหมึกแบบกระชัง จาก จ. ชุมพรมาพัฒนา ธนาคารหมึกได้จัดตั้งขึ้นที่ บ้านหาดทรายขาว จ. ระนอง มีการถ่ายทอดความรู้เรื่องธนาคารหมึกโดยประธานกลุ่มธนาคารหมึกบ้านทะเลงาม และศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเล...

Socioeconomic Database of Small-scale Fisheries in Southeast Asia

ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดำเนินกิจกรรมในภาคการประมงขนาดเล็กในพื้นที่โครงการครอบคลุมชายฝั่งทะเลและพื้นที่ประมงน้ำจืด หลังจากเก็บรวบรวมข้อมูลแล้ว จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลสำหรับประมงขนาดเล็ก มาใช้การจัดเก็บข้อมูลที่รวบรวมได้ในระหว่างดำเนินกิจกรรมโครงการใน อันประกอบด้วย ข้อมูลพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคม ข้อมูลบทบาทหญิงชาย ซึ่งการนำระบบฐานข้อมูลมาใช้ในการจัดเก็บข้อมูลจะช่วยให้สะดวกต่อการนำข้อมูลมาใช้ในอนาคต ผลการดำเนินกิจกรรม จากประชุมหารือกับผู้ที่เกี่ยวข้อง กับผู้ใช้ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลที่นำมาใช้จะนำมาใช้ คือข้อมูลจากแบบสอบถามที่ทางศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดย Fisheries Management Section ได้ทำการเก็บข้อมูล และรวบรวมไว้ มีการนำเข้าข้อมูล มีรายการดังต่อไปนี้ ข้อมูลเบื้องต้น เช่น เพศ อายุ รายได้ จำนวนประชากรในครัวเรือน จำนวนเรือ ประเภทของเรือ ปัญหาที่เกิดจากจากทำประมง เครื่องมือประมงและผลจับ แหล่งขายสัตว์น้ำที่จับได้ การมีส่วนร่วมในชุมชนของชาวประมง บทบาทหญิงชาย การเข้าถึงแหล่งเงินทุน  Read More (PDF file format) View on Facebook...

Most Read