HomeKnowledge

Knowledge

Gender Roles in Fisheries

It has generally been perceived that the fisheries sector is dominated by men, especially in the capture fisheries sub-sector. 90% of the world’s fishers working in the small-scale sector (Kolding et al., 2014) 70% of the...

เชือกโพลี (Polyethylene) และ เชือกใยยักษ์ (Polypropylene)

เชือกเป็นวัสดุประมงชนิดหนึ่ง ในอดีตเชือกทำมาจากเส้นใยธรรมชาติ เช่น ฝ้าย ป่าน ปอ ฟางข้าว หรือจากสัตว์ เช่น เส้นไหม ขน เอ็น หนังสัตว์ แต่ปัจจุบันนิยมใช้ เชือกมราผลิตจากเส้นใยสังเคราะห์ เช่น ไนลอน (Nylon) โพลีเอสเตอร์ (Polyester) โพลิเอทิลีน (Polyethylene) โพลิโพรไพลีน (Polypropylene) เพราะมีความแข็งแรง ความยืดหยุ่น และความทนทานมากกว่า ในส่วนของงานประมงและงานทั่วไป นิยมใช้เชือกโพลิเอทิลีน (เชือกโพลี) และเชือกโพลิโพรไพลีน (เชือกใยยักษ์) เพราะราคาถูก หาซื้อได้ทั่วไป...

การใช้เทคโนโลยีเครื่องทุ่นแรง เพื่อลดแรงงานบนเรือประมงอวนล้อมไทยต้นแบบ

  ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SEAFDEC) สำนักงานฝ่ายฝึกอบรม ร่วมกับกรมประมงไทย แพปลา น.ลาภประเสริฐ และสมาคมประมงจังหวัดปัตตานี กำลังดำเนินโครงการนำร่องในการประยุกต์ใช้เครื่องทุ่นแรงเพื่อช่วยในการทำประมงบนเรือประมงอวนล้อมไทยต้นแบบ “น. ลาภประเสริฐ 8” เพื่อการใช้พลังงานในการทำประมงอย่างเหมาะสม และความปลอดภัยในการทำประมงในทะเล ภายใต้หัวข้อ Optimizing Energy and Safety at Sea ในกรอบระยะเวลา 3 ปี ตั้งแต่ปี 2018-2021 โดยการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาลประเทศญี่ปุ่น (Japanese Trust Fund) ด้วยการประยุกต์ใช้เครื่องกว้านอวนล้อม (Power block) เพื่อทดแทนแรงงานประมงที่กำลังขาดแคลน ลดปัญหาการใช้แรงงานผิดกฎหมาย...

eACDS Application: Offline Technology for Catch Report at Sea

The mobile application for catch reporting at sea is one of the effective fisheries management tools of the electronic ASEAN Catch Documentation Scheme (eACDS) developed by SEAFDEC to enhance ASEAN Member States on traceability...

รักเรือ รักษ์โลก (Love Boat Safe the World)

เรือประมงต้นแบบ “น ลาภประเสริฐ 8” นอกจากเป็นเรือประมงที่คำนึงถึงการลดแรงงาน สำหรับการทำประมงยกระดับการทำงานและสภาพการอยู่อาศัยบนเรือแล้ว ยังให้ความสำคัญกับสุขลักษณะบนเรือและการรักษาความสดของสัตว์น้ำ ทั้งหมดนี้เพื่อให้เกิดความยั่งยืนโครงการนี้ยังคลอบคลุมถึงการใช้พลังงานอย่างคุ้มค่าลดการเกิดสภาวะการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ ที่จะส่งผลกระทบต่อชาวประมงทั้งทางตรงและทางอ้อม อาทิเช่น พายุ สัตว์น้ำลดน้อยลงทั้งชนิดและปริมาณ การกัดเซาะชายฝั่ง ประการังฟอกขาว ฯลฯ จากการปลดปล่อยก๊าซไอเสียของการเผาไหม้น้ำมันเชื้อเพลิง และกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทำประมงและการใช้พลังงานที่ส่งผลกระทบต่อสภาวะแวดล้อม สถานการณ์ดังกล่าวข้างต้นเป็นผลมาจากสภาวะโลกร้อน จากการเพิ่มขึ้นของปริมาณก๊าซเรือนกระจก ที่มีสาเหตุสำคัญ คือ การที่ชั้นบรรยากาศโอโซนถูกทำลาย ดังนั้น เราจำเป็นต้องประเมินค่า ODP (Ozone Depleting Potential) ซึ่งเป็นค่าที่บ่งบอกถึงการทำลายชั้นโอโซน และศักยภาพในการทำให้เกิดภาวะโลกร้อน GWP (Global Warming...

Most Read