HomeKnowledge

Knowledge

รู้หรือไม่? “ปะการัง” คือขุมทรัพย์ล้ำค่าแห่งท้องทะเล

ปะการัง เป็น “สัตว์” ไม่มีกระดูกสันหลังมีโครงสร้างภายนอกเป็นหินปูน ปะการังอาศัยพลังงานจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของสาหร่ายเซลล์เดียว (Zooxanthellae) ปะการังที่พบโดยทั่วไปมีการพัฒนาการอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มปะการัง หรือแนวปะการัง เป็นระบบนิเวศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ  Read More (PDF file format) View on Facebook  

หมึกที่สำคัญทางเศรษฐกิจมนประเทศไทย

หมึกเป็นสัตว์นํ้าไม่มีกระดูกสันหลังที่มีวิวัฒนาการสูง มีความสามารถในการเรียนรู้และจดจํา ซึ่งระบบประสาทสัมผัสของหมึก เทียบเท่าระบบประสาทสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม หมึกมีพฤติกรรมที่อยากรู้อยากเห็นตลอดเวลา เเละถูกจัดว่าเป็น King of camouflage หรือ เจ้าแห่งการพรางตัว เพราะตามผิวตัวของหมึกจะมีเม็ดสีที่จะช่วยในการพรางตัวเพื่อหลบเลี่ยงหนีศัตรู และการล่าเหยื่อ นอกจากนั้นหมึกยังเป็นทรัพยากรสัตว์นํ้าที่มีคุณค่าทางอาหาร และคุณค่าทางเศรษฐกิจที่สําคัญของประเทศ จากสถิติการประมงแห่งประเทศไทย ปี 2564 มีรายงานปริมาณหมึกที่จับได้มีจํานวน ถึง 92,300 ตัน ได้แก่ หมึกกล้วย หมึกกระดอง หมึกหอม และหมึกสาย (ปริมาณการจับเรียงจากมากไปน้อย)  Read More (PDF file format) ...

Oily Water Separator Onboard M.V. SEAFDEC

An oily water separator is a piece of equipment specific to the shipping or marine industry. It is used to separate oil and water mixtures into their separate components. They are found on board...

What is bycatch and How can it be avoided

The term "bycatch" is widely use to refers to the unintentional capture of non-target species during a fish operation, in addition to target species, and consisting both of other commercial or non-commercial fish species...

แมงดาถ้วย

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Carcinoscorpius rotundicauda ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ : Mangrove horseshoe crab ชื่อสามัญภาษาไทย : แมงดาถ้วย ลําตัวโค้งกลม ผิวด้านบนมีขนสั้น สีนํ้าตาลอมแดง ส่วนท้องมี “หางค่อนข้างกลม ไม่มีสัน และ ไม่มีหนาม” อาศัยอยู่ตามพื้นทะเลที่เป็นดินโคลน และตามคลองในป่าชายเลน สารพิษที่พบในแมงดาถ้วย สารที่พบในเนื้อ และ ไข่ของแมงดาถวย คือ สารเทโทรโดท็อกซิน (Tetrodotoxin) และ ซาซิท็อกซิน (Saxitoxin) ซึ่งความร้อนไม่สามารถทําลายสารพิษได้ และ ทําได้ยากเนื่องจากมีพิษอยู่ที่ทางเดินอาหาร และ ไข่...

Most Read