ชื่อหลักสูตร
การทำประมงอย่างเป็นมิตร เพื่อการจัดการทรัพยากรประมงที่ยั่งยืน
13 – 21 พฤษภาคม 2567 (9 วัน)
จำนวน 30 คน
การฝึกอบรมแบ่งเป็น การบรรยายและการฝึกปฏิบัติ
แสดงวัน-เวลา รายวิชา และชื่ออาจารย์ที่สอน
สามารถดาวน์โหลดเอกสารต่างๆ รวมทั้งเอกสารประกอบการสอน
แสดงรายชื่อ มหาวิทยาลัยและอีเมล์
รวมภาพกิจกรรมทั้งหมดตลอดการฝึกอบรม
หลักสูตรการทำประมงอย่างเป็นมิตร เพื่อการจัดการทรัพยากรประมงที่ยั่งยืน
(Eco-friendly fisheries for sustainable fisheries resources management)
13 – 21 พฤษภาคม 2567 (9 วัน)
การฝึกอบรมแบ่งเป็น การบรรยายและการฝึกปฏิบัติ
• การบรรยาย ประกอบด้วย
- Oceanography in the Gulf of Thailand
- Marine Pollution - Causes, Effects, and Remedial Solutions
- การป้องกันการทำประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงานและไร้การควบคุม
- การรักษาคุณภาพสัตว์น้ำหลังการจับ
- แนวทางการทำสื่อส่งเสริมด้านการประมง
- การบริหารจัดการทรัพยากรประมงโดยแนวทางเชิงระบบนิเวศ (Ecosystem Approach to Fisheries Management: EAFM)
- ความปลอดภัยในเรือและการดำรงชีพในทะเล
- เครื่องมือประมงในประเทศไทย (เครื่องมือประมงพื้นบ้านและพาณิชย์ที่ใช้ในปัจจุบัน)
- ความรู้พื้นฐานของระบบนิเวศแนวปะการัง และความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
- การจำแนกสิ่งมีชีวิตในแนวปะการังจากภาพถ่าย
- เศรษฐกิจสังคมประมง และมิติหญิงชายและทุกกลุ่มคนในภาคการประมง (ประเด็นเครื่องมือที่ใช้ศึกษาและแนวทางการส่งเสริม ด้านเศรษฐกิจสังคมประมงและมิติหญิงชายและทุกกลุ่มคนในภาคการประมง)
• การฝึกปฏิบัติ ประกอบด้วย
- การควบคุมเรือเล็กและการดำรงชีพในทะเล
- วิธีการสำรวจและเก็บข้อมูลในแนวปะการังและฝึกปฏิบัติการเก็บข้อมูลแนวปะการัง
- การวิเคราะห์ข้อมูลภาพถ่ายแนวปะการังโดยโปรแกรม CPCe
- การผูกเงื่อน, แทงเชือก, ถักอวน และการประกอบเครื่องมือประมง
- ฝึกสร้างแบบสอบถามสำหรับการสำรวจข้อมูลวิถีชีวิตชุมชนและเศรษฐกิจสังคมของชาวประมง