ความเป็นมา

ชื่อหลักสูตร
การทำประมงอย่างเป็นมิตร เพื่อการจัดการทรัพยากรประมงที่ยั่งยืน
19-26 เมษายน 2566 (8 วัน)
จำนวน 22 คน

วิธีการฝึกอบรม

การฝึกอบรมแบ่งเป็น การบรรยาย การฝึกปฏิบัติประกอบเครื่องมือประมง การฝึกภาคทะเล และการศึกษาดูงานนอกสถานที่

ตารางฝึกอบรม

แสดงวัน-เวลา รายวิชา และชื่ออาจารย์ที่สอน

ดาวน์โหลดเอกสาร

สามารถดาวน์โหลดเอกสารต่างๆ รวมทั้งเอกสารประกอบการสอน

รายชื่อนักศึกษา

แสดงรายชื่อ มหาวิทยาลัยและอีเมล์

รวมภาพกิจกรรม

รวมภาพกิจกรรมทั้งหมดตลอดการฝึกอบรม

การฝึกอบรมระยะสั้นสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัย รุ่นที่ 63 (ประจำปี 2566)

หลักสูตรการทำประมงอย่างเป็นมิตร เพื่อการจัดการทรัพยากรประมงที่ยั่งยืน
(Eco-friendly fisheries for sustainable fisheries resources management)

19-26 เมษายน 2566 (8 วัน)

ดาวน์โหลดเอกสารต่างๆ

รายละเอียดหลักสูตรการฝึกอบรม (pdf file)
ตารางการฝึกอบรม (pdf file)
รายชื่อนักศึกษามหาวิทยาลัย (pdf file)

ดาวน์โหลดเอกสารประกอบการสอน

Oceanographic Features in the Gulf of Thailand

Dr.Hiroji Onishi

เครื่องมือประมงทั่วไปของประเทศไทย

อ.นคเรศ ยะสุข

การเก็บข้อมูลการสำรวจทรัพยากรประมงเบื้องต้น

อ.นพพร มานะจิตต์

สมุทรศาสตร์เบื้องต้นกับการประมง

อ.ศุภพงษ์ ภัทรพงศ์พันธ์

การทำสมุทรศาสตร์บนเรือฝึก

อ.นายศุภพงษ์ ภัทรพงศ์พันธ์/อ.นฐชา ช่างเพ็ชรผล

สร้างความตระหนักในการป้องกันการทำประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงานและไร้การควบคุม (IUU)

อ.คงไผท ศราภัยวานิช

บทบาทหญิงชายในการประมง (Gender in Fisheries)

อ.ธัญลักษณ์ เสือสี

การสำรวจข้อมูลด้านเศรษฐกิจสังคมของชุมชนประมง

อ.ธัญลักษณ์ เสือสี

การจัดการประมงโดยใช้แนวทางเชิงระบบนิเวศ (EAFM)

อ.พนิตนาฎ วีระวัฒน์

แนวทางการทำสื่อส่งเสริมด้านการประมง

อ.กฤษฎิ์ ภู่ศิริมงคล