ความเป็นมา

ชื่อหลักสูตร
การทำประมงอย่างเป็นมิตร เพื่อการจัดการทรัพยากรประมงที่ยั่งยืน
19-26 เมษายน 2566 (8 วัน)
จำนวน 22 คน

วิธีการฝึกอบรม

การฝึกอบรมแบ่งเป็น การบรรยาย การฝึกปฏิบัติประกอบเครื่องมือประมง การฝึกภาคทะเล และการศึกษาดูงานนอกสถานที่

ตารางฝึกอบรม

แสดงวัน-เวลา รายวิชา และชื่ออาจารย์ที่สอน

ดาวน์โหลดเอกสาร

สามารถดาวน์โหลดเอกสารต่างๆ รวมทั้งเอกสารประกอบการสอน

รายชื่อนักศึกษา

แสดงรายชื่อ มหาวิทยาลัยและอีเมล์

รวมภาพกิจกรรม

รวมภาพกิจกรรมทั้งหมดตลอดการฝึกอบรม

การฝึกอบรมระยะสั้นสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัย รุ่นที่ 63 (ประจำปี 2566)

หลักสูตรการทำประมงอย่างเป็นมิตร เพื่อการจัดการทรัพยากรประมงที่ยั่งยืน
(Eco-friendly fisheries for sustainable fisheries resources management)

19-26 เมษายน 2566 (8 วัน)

วิธีการฝึกอบรม

การฝึกอบรมแบ่งเป็น การบรรยาย การฝึกปฏิบัติประกอบเครื่องมือประมง การฝึกภาคทะเล และการศึกษาดูงานนอกสถานที่
      • การบรรยาย ประกอบด้วย
          - เครื่องมือประมงทั่วไปของประเทศไทย
          - การเก็บข้อมูลการสำรวจทรัพยากรประมงเบื้องต้น
          - สมุทรศาสตร์เบื้องต้นกับการประมง
          - การทำสมุทรศาสตร์บนเรือฝึก
          - สร้างความตระหนักในการป้องกันการทำประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงานและไร้การควบคุม (IUU)
          - บทบาทหญิงชายในการประมง (Gender in Fisheries)
          - การสำรวจข้อมูลด้านเศรษฐกิจสังคมของชุมชนประมง
          - การจัดการประมงโดยใช้แนวทางเชิงระบบนิเวศ (EAFM)
          - แนวทางการทำสื่อส่งเสริมด้านการประมง

     • การฝึกปฏิบัติ ประกอบด้วย
          - ฝึกประกอบเครื่องมือประมง (ผูกเงื่อน, แทงเชือก และถักอวน)
          - ฝึกทำการประมงและสมุทรศาสตร์บนเรือฝึก

     • การศึกษาดูงานนอกสถานที่ ประกอบด้วย
          - สำรวจวิถีชีวิตชุมชนประมง