ความเป็นมา

ชื่อหลักสูตร
การทำประมงอย่างเป็นมิตร เพื่อการจัดการทรัพยากรประมงที่ยั่งยืน
19-26 เมษายน 2566 (8 วัน)
จำนวน 22 คน

วิธีการฝึกอบรม

การฝึกอบรมแบ่งเป็น การบรรยาย การฝึกปฏิบัติประกอบเครื่องมือประมง การฝึกภาคทะเล และการศึกษาดูงานนอกสถานที่

ตารางฝึกอบรม

แสดงวัน-เวลา รายวิชา และชื่ออาจารย์ที่สอน

ดาวน์โหลดเอกสาร

สามารถดาวน์โหลดเอกสารต่างๆ รวมทั้งเอกสารประกอบการสอน

รายชื่อนักศึกษา

แสดงรายชื่อ มหาวิทยาลัยและอีเมล์

รวมภาพกิจกรรม

รวมภาพกิจกรรมทั้งหมดตลอดการฝึกอบรม

การฝึกอบรมระยะสั้นสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัย รุ่นที่ 63 (ประจำปี 2566)

หลักสูตรการทำประมงอย่างเป็นมิตร เพื่อการจัดการทรัพยากรประมงที่ยั่งยืน
(Eco-friendly fisheries for sustainable fisheries resources management)

19-26 เมษายน 2566 (8 วัน)

ตารางการฝึกอบรม

วันที่ เวลา กิจกรรม
19 เม.ย. 66
(วันพุธ)
09.00-09.30 ลงทะเบียน
09.30-10.30 พิธีเปิดการฝึกอบรม
10.30-11.00 พักรับประทานอาหารว่าง
11.00-12.00 แนะนำหลักสูตร/ รับทราบระเบียบต่างๆ ของหอพัก
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.00 ทำความรู้จักสถานที่ฝึกอบรมและเยี่ยมชมศูนย์ฯ
14.00-15.00 Oceanographic Features in the Gulf of Thailand
(Dr.Hiroji Onishi)
15.00-15.30 พักรับประทานอาหารว่าง
15.30-16.30 กิจกรรมละลายพฤติกรรม
(อ.กฤษฎิ์ ภู่ศิริมงคล/อ.ญาณิดา สุทธิผล))
 
20 เม.ย. 66
(วันพฤหัสบดี)
09.00-10.30 บรรยายเรื่อง “เครื่องมือประมงทั่วไปของประเทศไทย”
(อ.นคเรศ ยะสุข)
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 บรรยายเรื่อง “การเก็บข้อมูลการสำรวจทรัพยากรประมงเบื้องต้น”
(อ.นพพร มานะจิตต์)
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 บรรยายเรื่อง “สมุทรศาสตร์เบื้องต้นกับการประมง”
(อ.ศุภพงษ์ ภัทรพงศ์พันธ์)
14.30-15.00 พักรับประทานอาหารว่าง
15.00-16.30 บรรยายเรื่อง “การทำสมุทรศาสตร์บนเรือฝึก”
(อ.นายศุภพงษ์ ภัทรพงศ์พันธ์/อ.นฐชา ช่างเพ็ชรผล)
 
21 เม.ย. 66
(วันศุกร์)
09.00-12.00 ฝึกปฏิบัติการประกอบเครื่องมือประมง
-การผูกเงื่อน, แทงเชือก และถักอวน
(แผนกเทคโนโลยีเครื่องมือประมง และทีมงาน)
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-16.30 ฝึกปฏิบัติการประกอบเครื่องมือประมง
-การผูกเงื่อน, แทงเชือก และถักอวน
(แผนกเทคโนโลยีเครื่องมือประมง และทีมงาน)
16.30-17.30 การเตรียมความพร้อมก่อนการฝึกภาคทะเล (ทีมงาน)
 
22 เม.ย. 66
(วันเสาร์)
06.30 เตรียมความพร้อมก่อนลงเรือ
07.00-17.00 ฝึกทำการประมงและสมุทรศาสตร์บนเรือฝึก
 
23 เม.ย. 66
(วันอาทิตย์)
08.30-16.30 สำรวจวิถีชีวิตชุมชนประมง
 
24 เม.ย. 66
(วันจันทร์)
09.00-10.30 บรรยายเรื่อง “สร้างความตระหนักในการป้องกันการทำประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงานและไร้การควบคุม (IUU)”
(อ.คงไผท ศราภัยวานิช)
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 บรรยายเรื่อง “บทบาทหญิงชายในการประมง (Gender in Fisheries)”
(อ.ธัญลักษณ์ เสือสี)
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-16.30 บรรยายเรื่อง “การสำรวจข้อมูลด้านเศรษฐกิจสังคมของชุมชนประมง”
(อ.ธัญลักษณ์ เสือสี)
 
25 เม.ย. 66
(วันอังคาร)
09.00-10.30 บรรยายเรื่อง “การจัดการประมงโดยใช้แนวทางเชิงระบบนิเวศ (EAFM)”
(อ.พนิตนาฎ วีระวัฒน์)
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 บรรยายเรื่อง “แนวทางการทำสื่อส่งเสริมด้านการประมง”
(อ.กฤษฎิ์ ภู่ศิริมงคล)
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-16.30 เตรียมนำเสนอรายงานกลุ่ม
 
26 เม.ย. 66
(วันพุธ)
09.00-10.30 นักศึกษานำเสนอรายงานกลุ่ม
10.30-11.00 พักรับประทานอาหารว่าง
11.00-12.00 ประเมินผลการฝึกอบรม
12.00-13.30 พักรับประทานอาหารกลางวัน
14.00-15.00 พิธีปิดการฝึกอบรมและมอบประกาศนียบัตร